ถาม-ตอบ (Q&A)
งาน ฟิสิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5
โพสโดย
ครูก้อง
vinai12@hotmail.com
ให้นักเรียนทุกคน ค้นหากระบวนการสร้างตัวจรวดขวดน้ำ จากแหล่งเรียนรู้ แล้วแนบไฟล์ส่ง  ภายในวันที่ 17 สิงหาคม 2558
โพสโดย : ครูก้อง
IP : 27.55.203.209
โพสเมื่อวันที่ : 13 ส.ค. 2558,09:59 น.
ความเห็นที่ 5
โพสโดย
นัท ไข่หวาน
worawoot20442@gmial.com
ส่งงานแล้วคับ นายวรวุฒิ ที่อ้น ม.5 OK จบนะ
โพสโดย : นัท ไข่หวาน
IP : 49.230.112.116
โพสเมื่อวันที่ : 19 ส.ค. 2558,15:26 น.
ความเห็นที่ 4
โพสโดย
นัท ไข่หวาน
worawoot20442@gmial.com
จรวดขวดน้ำ (PET) คือ จรวดที่สร้างจากขวดพลาสติกน้ำอัดลม ใช้แรงขับเคลื่อนด้วยน้ำหรือแป้งโดยอาศัยแรงดันของอากาศที่บรรจุอยู่ภายใน สำหรับในประเทศไทย การแข่งขัน จรวดขวดน้ำ ระดับประเทศ ได้มีการจัดขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี 2546 โดยองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) “ การแข่ง จรวดขวดน้ำ ” นอกจากจะเป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน ง่ายต่อการที่เยาวชนจะให้ความสนใจแล้ว การแข่ง จรวดขวดน้ำ ยังควบคู่ไปด้วยสาระความรู้ในกระบวนการวิทยาศาสตร์ ส่งเสริมพัฒนาให้เด็กได้ใช้ความรู้และจินตนาการอย่างดี และยังมีบุคคล นักเรียน นักศึกษาให้ความสนใจในกิจกรรมกาารแข่ง จรวดขวดน้ำ นี้มากขึ้นอีกด้วย อย่างไรก็ตาม นอกจากการแข่งขัน จรวดขวดน้ำ ระดับประเทศของไทยแล้ว จรวดขวดน้ำ ยังเป็นที่นิยมในหลายๆ ประเทศ อย่าง Water Rocket Challenge ในประเทศอังกฤษ Adventures in Science and Technology - The Great Cross - Canada Water Rocket Challenge ที่แคนาดา Japanese Water Rocket Contest ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเยาวชนไทยนั้น ก็มีความสามารถไปประชันฝีมือ การทำ จรวดขวดน้ำ ในเวทีระดับชาติมาแล้วเช่นกัน จรวดขวดน้ำ รอบรู้ก่อนประดิษฐ์ จรวดขวดน้ำ การที่จำทำให้เจ้า จรวดขวดน้ำ ขวด หรือ PET นั้น สามารถลอยอยู่ในอากาศให้ได้ทั้งไกล และมีความแม่นยำในการยิง จรวดขวดน้ำ ได้นั้น หลักการทางวิทยาศาสตร์ด้านใดบ้างที่เราต้องมีความรู้? 1.แรง ถ้าเพียงให้แค่ จรวดขวดน้ำ ลอยได้ในอากาศนั้น ลำพังแค่ขว้างไปก็ทำได้แล้ว หากแต่จะทำให้ จรวดขวดน้ำ ของเราลอยไปได้ไกลๆ นั้น จำเป็นมากที่เราต้องมีความรู้เกี้ยวกับเรื่องของ "แรง" การใส่แรงดันเข้าไปใน จรวดขวดน้ำ ทำให้ขวดมีแรงดันและสามารถไปได้ไกล ส่วนที่ว่า จรวดขวดน้ำ จะไปได้ไกลมากน้อยแค่ไหนนั้น ก็ย่อมขึ้นอยู่กับแรงที่เราอัดเข้าไปใน จรวดขวดน้ำ เพราะเมื่อแรงดันจากอากาศ จรวดขวดน้ำ ของเรา ก็จะร่วงลงพื้นตามกฎของแรงดึงดูดของโลกนั้นเอง แต่ว่ารู้อย่างนี้แล้ว ใช่ว่าอยากให้ จรวดขวดน้ำ ไปได้ไกลเท่าไหร่ ก็อัดแรงดันเข้าไป แบบนั้นเห็นว่า เป็นการมองข้ามข้อจำกัดของแรงดันอากาศ ณ จุดที่เกินพอดี แล้วทำให้ จรวดขวดน้ำ แตกได้ 2.น้ำหรือแป้ง น่าแปลกที่ทั้งน้ำและแป้งที่ใส่เข้าไปใน จรวดขวดน้ำ กลับทำให้ จรวดขวดน้ำ ไปได้ไกลกว่าเดิม ออกจะขัดแย้งกับความรู้สึกที่ว่า มันน่าจะถ่วงน้ำหนักทำให้ จรวดขวดน้ำ ตกไวขึ้น แต่ตรงข้าม ผลที่เกิดคือ จรวดขวดน้ำ กลับไปได้ไกลว่าเดิม นั้นก็สามารถอธิบายได้ด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ได้ คือ น้ำและแป้งที่เราใส่เข้าไปใน จรวดขวดน้ำ ช่วยทำให้อากาศออกจากตัว จรวดขวดน้ำ ช้าลง จึงทำให้ จรวดขวดน้ำ ไปได้ไกลและลอยตัวอยู่ในอากาศได้นานขึ้น มากกว่า จรวดขวดน้ำ ที่มีแต่แรงดันอากาศเพียงอย่างเดียว จรวดขวดน้ำ รู้จักส่วนต่างๆ ของ จรวดขวดน้ำ ขวด PET (Poly Ethylene Terephthalate) : ขวด PET ได้เข้ามาเป็นที่รู้จักในประเทศไทยก็จากวงการของน้ำอัดลมนั้นเอง โดยนำมาเป็นขวดที่ใช้ในการใส่เครื่องดื่ม เพราะด้วยคุณสมบัติที่มีน้ำหนักเบา มีความสามารถในการซึมผ่านของก๊าซต่ำ และที่สำคัญคือมีความต้านทานแรงกระแทกได้เป็นอย่างดี ถ้าหากเราไปใช้ขวดพลาสติกชนิดอื่น ซึ่งมีความทนต่อแรงดันอากาศต่ำ เมื่อเราใส่แรงดันอากาศเข้าไป แล้วยิง จรวดขวดน้ำ ก็จะทำให้ จรวดขวดน้ำ ระเบิดได้ ฐานยิงจรวดขวดน้ำ : มีอยู่ 2 แบบคือ ประเภทที่ใช้ระบบปลดเร็ว ซึ่งมี adapter ติดกับตัว จรวดขวดน้ำ และ ฐานยิงจรวดขวดน้ำ แบบไม่ใช้ adapter ปีก/ครีบ จรวดขวดน้ำ (Fin) : ส่วนสำคัญที่ช่วยในการบังคับทิศทางของ จรวดขวดน้ำ หัว จรวดขวดน้ำ : รูปร่างของหัว จรวดขวดน้ำ นั้น มีผลต่อแรงต้าน (drag) และตำแหน่งของจุดศูนย์กลางของแรงต้าน (center of drag) และการออกแบบ จรวดขวดน้ำ ต้องคำนึกถึงความปลอดถัยของ จรวดขวดน้ำ และสิ่งที่ จรวดขวดน้ำ จะชน นอกจากนี้ยังมีส่วนประกอบที่เราจำเป็นต้องเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็น ขาตั้งจรวดขวดน้ำ การต่อขวด ปั๊มลม แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของ จรวดขวดน้ำ ฯลฯ ซึ่งสามารถหาความรู้ได้จากหนังสือ เว็บไซต์ หรือแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำ จรวดขวดน้ำ กันโดยตรง จากผู้ที่มีความรู้ความสนใจในกิจกรรม การประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ ตามโอกาศต่างๆ ขวด PET ได้เข้ามาเป็นที่รู้จักในประเทศไทยก็จากวงการของน้ำอัดลมนั้นเอง โดยนำมาเป็นขวดที่ใช้ในการใส่เครื่องดื่ม เพราะด้วยคุณสมบัติที่มีน้ำหนักเบา มีความสามารถในการซึมผ่านของก๊าซต่ำ และที่สำคัญคือมีความต้านทานแรงกระแทกได้เป็นอย่างดี ถ้าหากเราไปใช้ขวดพลาสติกชนิดอื่น ซึ่งมีความทนต่อแรงดันอากาศต่ำ เมื่อเราใส่แรงดันอากาศเข้าไป แล้วยิง จรวดขวดน้ำ ก็จะทำให้ จรวดขวดน้ำ ระเบิดได้ จรวดขวดน้ำ การประดิษฐ์ จรวดขวดน้ำ การเตรียมขวด จรวดขวดน้ำ ขวดที่ใช้ส่วนใหญ่จะเป็นขวดน้ำอัดลม เล็กหรือใหญ่ก็ได้ เลือกแบบตามชอบ แต่ดูเหมือนขวดแฟนต้าจะมีรูปร่างคล้ายจรวดมากกว่าใคร การเป่าขวด จรวดขวดน้ำ ส่วนใหญ่จะเป่าที่ก้นขวด เพื่อให้มีปริมาตรมากขึ้น และมีรูปทรงตามต้องการ ปากขวดของ จรวดขวดน้ำ โดยทั่วไปจะคงไว้ตามเดิม แต่กรณีที่มีปัญหา เช่น ใส่ขวดไม่เข้าเพราะปาก จรวดขวดน้ำ เล็กไปหน่อย หรือโอริงโตกว่านิดหน่อย การแก้ไขในกรณีนี้ เราก็ขยายปากขวด จรวดขวดน้ำ ให้กว้างขึ้นนิดหน่อย ก็เป็นอันเรียบร้อย หัวจรวดของ จรวดขวดน้ำ หัวจรวดของ จรวดขวดน้ำ เราทำได้หลายแบบ หัวทู่ หัวกลม หัวแหลม ก็ว่ากันไป ขึ้นอยู่กับการทดลองว่าแบบไหนจะเห็นผลมากกว่ากัน แบบนี้ต้องทดลอง หางจรวดของ จรวดขวดน้ำ บางทีเรียกปีก ฝรั่งเรียก ฟิน รูปแบบที่ใช้ก็มีหลากหลายรูปแบบ ในทางการหน่อย ถ้ามีพื้นที่มากจะมีแรงต้านมากตามไปด้วยต้องทดลอง และวิเคราะห์ดูว่าขนาดและแบบไหนจะดีที่สุด ลำตัวของ จรวดขวดน้ำ ถ้าไม่เปลี่ยนแปลงก็ใช้ขนาดที่มากับขวด แต่อยากแต่งซิ่งก็ต้องเป่ากันหน่อย การต่อขวด จรวดขวดน้ำ นำขวดมา 2 ใบ ทำให้ใบหนึ่งใหญ่กว่าอีกใบหนึ่งเล็กน้อย พยายามที่จะให้อีกใบหนึ่งสวมเข้าไปได้ ตรงรอยต่อให้ขัดกระดาษทราย เพื่อจะได้ติดแน่นเวลาใส่กาว ไม่ต้องใช้กาวแพงก็ได้ ใช้ 502 ก็ได้ วิธีทำจรวดขวดน้ำ กรณีนี้ ต่อแบบทะลุ 2 ขวด บางท่านอาจต่อแบบไม่ทะลุ แบบนี้ต้องเล็งให้ได้ศูนย์ จึงจะดีต่อการเคลื่อนที่ของจรวด วิธีทำจรวดขวดน้ำ ก่อนใส่กาว หาลวดเล็กๆ มาเสียบระหว่างรอยต่อของ จรวดขวดน้ำ เพื่อให้มีช่องสำหรับการเคลื่อนที่ของกาว แล้วขยับลวดไปรอบๆ พร้อมกับค่อยๆ เติมกาว อย่าใจร้อน ค่อยๆ สังเกต เมื่อกาวทั่วดีแล้ว ทิ้งไว้ อย่างน้อย 24 ชั่วโมง จรวดขวดน้ำ ก็จะใช้ได้ดี และแข็งแรงพอที่จะรับแรงดันได้ 60 ปอนด์ กฏความปลอดภัย จรวดขวดน้ำ PET ถึงจะดูเผินๆ คล้ายของเล่น แต่เนื่องจากมันสามารถวิ่งไปด้วยความเร็ว ไม่น้อยกว่า 76 เมตรต่อวินาที (หรือ 170 ไมล์ต่อชั่วโมง) ดังนั้นในการเล่น จรวดขวดน้ำ PET จึงมีข้อควรระวัง และจำเป็นต้องปฏิบัติตามดังนี้ 1. น้องๆ ที่อายุน้อย ควรเล่น จรวดขวดน้ำ ภายใต้การควบคุมอย่างใกล้ชิดจากผู้ใหญ่ 2. ไม่ควรปล่อย จรวดขวดน้ำ ในทิศทางที่มีคน หรือกลุ่มคน 3. ไม่ควรเล่น จรวดขวดน้ำ ในที่คับแคบ และใกล้เคียงกับอาคาร รถยนต์ หรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่แตกหักเสียหายได้จากการพุ่งชนของ จรวดขวดน้ำ 4. ไม่ควรเล่น จรวดขวดน้ำ ใกล้สายไฟฟ้าแรงสูง หรือถนนที่มีรถยนต์วิ่งไปมา 5. ห้ามใช้วัสดุอื่นใดที่ไม่ใช้ขวดน้ำอัดลม (ขวด PET) อาทิเช่น ขวดแก้ว ขวดน้ำดื่มพลาสติก ในการทำตัว จรวดขวดน้ำ 6. ห้ามปล่อย จรวดขวดน้ำ ในที่ที่มีลมพัดแรง ทั้งนี้จะทำให้ จรวดขวดน้ำ เปลี่ยนทิศทาง และก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้คนรอบข้างได้ 7. ควรมีอุปกรณ์สวมอุปกรณ์ป้องกันศีรษะ และดวงตา ในการเล่น จรวดขวดน้ำ PET 8. ไม่ยิง จรวดขวดน้ำ PET ในบริเวณใกล้เคียงกับสนามบิน หรือที่ที่มีการขึ้นลงของเครื่องบินโดยสาร หรือเครื่องบินขนาดเล็ก 9. ก่อนสูบลมเข้าไปใน จรวดขวดน้ำ ให้ตรวจสอบระบบล็อคให้เรียบร้อยแน่นหนา 10. ในขณะสูบลม อย่าให้มีคนขวางเส้นทางของ จรวดขวดน้ำ เนื่องจาก จรวดขวดน้ำ อาจหลุดออกจากฐานได้ โดยไม่ตั้งใจ 11. หมั่นตรวจสอบอุปกรณ์ของ ฐานยิงจรวดขวดน้ำ , อุปกรณ์สูบลม และส่วนประกอบต่างๆ ของ จรวดขวดน้ำ อย่างสม่ำเสมอ ของแต่ละชิ้น จะมีอายุการใช้งานต่างกัน และมีขีดจำกัดในการรับแรงต่างกัน เมื่อใช้ไปหลายๆ ครั้ง อาจเกิดการเสื่อมสภาพขี้นได้ 12. ระมัดระวังเมื่อมีการใช้แรงดันสูงๆ ในการยิง จรวดขวดน้ำ 13. ใช้วิจารณญาณในการเล่นตลอดเวลา (อย่าประมาทจ้า!) ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก - วิชาการดอทคอม - snvaran.exteen.com
โพสโดย : นัท ไข่หวาน
IP : 49.230.112.116
โพสเมื่อวันที่ : 19 ส.ค. 2558,15:24 น.
ความเห็นที่ 3
โพสโดย
อีนิว' หอยนี่
new_8259_@hotmail.com
เรื่อง จรวดขวดน้ำกลุ่มสาระ
 
วิทยาศาสตร์ …………หลักการและเหตุผล            การจัดการเรียนการสอนโครงงานเรื่องจรวดขวดน้ำ       เป็นกิจกรรมวิทยาศาสตร์ทางเลือกที่ผู้เรียนจะได้รับสาระประโยชน์             ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างครบถ้วน    ทั้งด้านเนื้อหาสาระวิชาการ  โดยเฉพาะเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน     การฝึกทักษะ       การฝึกฝนพัฒนาทักษะ  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์    เทคโนโลยีและความสนุกสนานตื่นเต้น      กิจกรรมจรวดขวดน้ำ    กระตุ้นและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์พัฒนาความสามารถในการประดิษฐ์ของผู้เล่น จากการนำขวดพลาสติก(ขวด PET)   ที่ทิ้งแล้วอาศัยจินตนาการและฝีมือมาประดิษฐ์ตกแต่ง  ต่อเติม  ให้เป็นรูปทรงจรวดที่ต้องการทั้งรูปร่าง     ทรวดทรงพร้อมแพนหาง หรือ ประดับแต่งแต้ม    สีสันตามใจชอบ         ควบคู่กับการคิดฝันออกแบบพัฒนาและประดิษฐ์ฐานปล่อยจรวดขวดน้ำให้จรวดขวดน้ำพุ่งขึ้นสู่อากาศสู่เป้าหมายที่ต้องการ           กิจกรรมจรวดขวดน้ำ  มีความท้าทายอยู่ในตัวนับตั้งแต่การคิดสร้างสรรค์  ประดิษฐ์จรวดขวดน้ำและฐานปล่อยจรวดขวดน้ำให้สำเร็จตามที่ออกแบบและพัฒนาการทดลองจนได้ผลเป็นที่พอใจ    ประการถัดมาคือสิ่งประดิษฐ์นั้นจะได้ผลตามวัตถุประสงค์ของผู้เล่นหรือไม่หรือสามารถปล่อยจรวดขวดน้ำลงสู่เป้าหมายที่กำหนดได้อย่างแม่นยำหรือไม่ขึ้นอยู่กับการสังเกต   ทดลอง    รวบรวมข้อมูล           และลงข้อสรุปของผู้เล่นในการผสม-ส่วนของปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่  ความดันอากาศ ปริมาณน้ำและมุมปล่อยจรวด อย่างเหมาะสม     กิจกรรมจรวดขวดน้ำ  มีต้นทุนต่ำจากการที่นำวัสดุอุปกรณ์ที่เป็นของทิ้งแล้วหรือเหลือใช้มาสร้างสรรค์ตกแต่ง   อาศัยจินตนาการความคิดสร้างสรรค์     และฝีมือในการประดิษฐ์คิดค้นที่จะใช้ประโยชน์จากวัสดุอุปกรณ์เหล่านั้นให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ตามความประสงค์    กิจกรรมจรวดขวดน้ำ      ครบเครื่องเรื่องสาระการเรียนรู้เชิงบูรณาการทั้ง   วิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์  การงานอาชีพและเทคโนโลยี       สุขศึกษาและพลศึกษา   สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม    ศิลปะ   ภาษาไทย  และภาษาอังกฤษ            วัตถุประสงค์1.   เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้หลักการออกแบบ และประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ2.   เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้หลักการทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาทักษะ      กระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างสนุกสนาน3.  เพื่อให้นักเรียนได้นำกิจกรรมจรวดขวดน้ำไปใช้กิจกรรมเสริมในการเรียน     วิทยาศาสตร์4.  เพื่อเตรียมนักเรียนไว้เข้าร่วมแข่งขันจรวดขวดน้ำในระดับต่างๆ5.  เพื่อฝึกให้นักเรียนได้ทำงานเป็นทีมเป็นระบบ เป้าหมาย (คุณภาพ)1.  นักเรียนระดับช่วงชั้นที่  ประดิษฐ์จรวดขวดน้ำเเละพัฒนาทักษะ     กระบวนการวิทยาศาสตร์ 2.  เป็นการกระตุ้นให้เกิดความคิดค้นกิจกรรมใหม่  ที่ส่งเสริมการเรียน   รู้ด้าน วิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยีของนักเรียน             วิธีการสร้างและพัฒนา      อุปกรณ์         1.  ขวดน้ำอัดลมเเบบพลาสติก  2 ขวดขนาด  1.25  ลิตร       2.  กรรไกร / คัตเตอร์        3.  พลาสติกลูกฟูก / บัตรเติมเงินโทรศัพท์        4.  เทปใส / กาวร้อน / กาวตราช้าง                  5.  ดินน้ำมัน / หนังสือพิมพ์           6. ไม้บรรทัด           7.  ปากกาเคมี          8.  เครื่องชั่ง    วิธีการสร้าง            1.  เตรียมขวดน้ำอัดลมแบบพลาสติก   ขวด  ขนาด  1.25   ลิตร            2. ใช้คัตเตอร์ตัดขวดใบแรกจะได้หัวจรวดกับกระโปรง            3. นำดินน้ำมันใส่เข้าไปในหัวจรวดนำไปชั่งเพื่อหาน้ำหนักของส่วนหัว               จรวดพร้อมฝาขวด (ประมาณ  200  กรัม)   แล้วนำไปประกอบกับ                ขวดใบแรก            4.  ทาด้วยกาวร้อน /  กาวตราช้าง  /  เทปใสให้เเน่น            5.  ออกแบบแพนหางตามจิตนาการ แล้วตัดให้ได้ตาม-ส่วน            6. ใช้กรรไกร ทำรอยบากที่บริเวณฐานของครีบแพนหางแต่ละอัน                ประมาณ   รอบ            7.  นำมาติดรอบกระโปรง    เว้นระยะเท่าๆกันแล้วติดให้แน่นด้วยกาว           เทปใส            8. นำหัวจรวดกับกระโปรงมาติดเข้ากับขวดใบที่สอง ทากาว /เทปใส               ให้แน่นและเรียบ ตรวจความสมบูรณ์ของตัวจรวด               9. จรวดขวดน้ำเสร็จสมบูรณ์ พร้อมนำไปยิงที่ฐานยิงที่พร้อมปรับมุม                 ฐานยิง เข้าร่วมแข่งขันประเภทความแม่นยำหรือประเภทความไกล                 โดยต้องได้  -ส่วนของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่   ความดันอากาศ           ปริมาณน้ำและมุมปล่อยจรวด   อย่างเหมาะสม          การพัฒนาการประดิษฐ์จรวจขวดน้ำ     ความน่าจะเป็น1.  เข้าใจกฎของนิวตัน      ว่าจรวดขวดน้ำออกแบบมาภายใต้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน   คือจรวดเคลื่อนที่สู่ท้องฟ้าด้วยกฎการเคลื่อนที่ข้อ 3  แรงกริยา  =  แรงปฏิกริยา   เมื่อเราใส่น้ำเข้าไปในจรวดและอัดอากาศเข้าไปน้ำจะทำหน้าที่ป้องกัน     ไม่ให้อากาศไหลย้อนกลับออกมาการอัดลมเข้าไปทำให้ความดันภายในลำตัวจรวดสูงขึ้น       เมื่อดึงสลักออก  แรงดันอากาศภายในจะดันให้น้ำพุ่งออกมา ทำให้เกิดแรงปฏิกิริยาดันให้จรวดพุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้า  เมื่อจรวดถูกปล่อยขึ้นไปแล้วแรงดันอากาศมิได้หายไปทันทีแต่จะลดลงเรื่อย ๆ  เนื่องจากปริมาณน้ำที่อยู่ในขวดจะช่วยชะลอให้แรงดันค่อย ๆ ลดลง                     2.   การใช้วัสดุมาประดิษฐ์     การออกแบบจรวดส่วนหัว          ส่วนกระโปรง  ขนาด  น้ำหนัก  การใช้กาว                       3.  การปรับมุมฐานยิง / ประเภทยิงแม่น ประเภทยิงไกล 4.  ความดันอากาศ ปริมาณน้ำที่เหมาะสม   ก็จะประสบ         ผลสำเร็จ                                                           สรุปผลการดำเนินงาน            นักเรียนได้ทำงานเป็นทีมเป็นระบบ ร่วมกันคิดอย่างสร้างสรรค์  มี       จินตนาการในการออกแบบจรวดขวดน้ำ  ได้รู้หลักการ  ทฤษฎีและได้        พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์   โดยการสังเกต  การทดลอง        หาเหตุปัจจัย  หาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ  ซึ่งเป็นการ       จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/133547
IP : 101.51.178.171
โพสเมื่อวันที่ : 13 ส.ค. 2558,17:48 น.
ความเห็นที่ 2
โพสโดย
ambowz
chern.1234.chern2345@gmail.com

 เรื่อง จรวดขวดน้ำกลุ่มสาระ          
วิทยาศาสตร์
………หลักการและเหตุผล          
  
การจัดการเรียนการสอนโครงงานเรื่องจรวดขวดน้ำ       เป็นกิจกรรมวิทยาศาสตร์ทางเลือกที่ผู้เรียนจะได้รับสาระประโยชน์             ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างครบถ้วน    ทั้งด้านเนื้อหาสาระวิชาการ  โดยเฉพาะเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน     การฝึกทักษะ       การฝึกฝนพัฒนาทักษะ  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์    เทคโนโลยีและความสนุกสนานตื่นเต้น      กิจกรรมจรวดขวดน้ำ    กระตุ้นและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์พัฒนาความสามารถในการประดิษฐ์ของผู้เล่น จากการนำขวดพลาสติก(ขวด PET)   ที่ทิ้งแล้วอาศัยจินตนาการและฝีมือมาประดิษฐ์ตกแต่ง  ต่อเติม  ให้เป็นรูปทรงจรวดที่ต้องการทั้งรูปร่าง     ทรวดทรงพร้อมแพนหาง หรือ ประดับแต่งแต้ม    สีสันตามใจชอบ         ควบคู่กับการคิดฝันออกแบบพัฒนาและประดิษฐ์ฐานปล่อยจรวดขวดน้ำให้จรวดขวดน้ำพุ่งขึ้นสู่อากาศสู่เป้าหมายที่ต้องการ           กิจกรรมจรวดขวดน้ำ  มีความท้าทายอยู่ในตัวนับตั้งแต่การคิดสร้างสรรค์  ประดิษฐ์จรวดขวดน้ำและฐานปล่อยจรวดขวดน้ำให้สำเร็จตามที่ออกแบบและพัฒนาการทดลองจนได้ผลเป็นที่พอใจ    ประการถัดมาคือสิ่งประดิษฐ์นั้นจะได้ผลตามวัตถุประสงค์ของผู้เล่นหรือไม่หรือสามารถปล่อยจรวดขวดน้ำลงสู่เป้าหมายที่กำหนดได้อย่างแม่นยำหรือไม่ขึ้นอยู่กับการสังเกต   ทดลอง    รวบรวมข้อมูล           และลงข้อสรุปของผู้เล่นในการผสม-ส่วนของปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่  ความดันอากาศ ปริมาณน้ำและมุมปล่อยจรวด อย่างเหมาะสม     กิจกรรมจรวดขวดน้ำ  มีต้นทุนต่ำจากการที่นำวัสดุอุปกรณ์ที่เป็นของทิ้งแล้วหรือเหลือใช้มาสร้างสรรค์ตกแต่ง   อาศัยจินตนาการความคิดสร้างสรรค์     และฝีมือในการประดิษฐ์คิดค้นที่จะใช้ประโยชน์จากวัสดุอุปกรณ์เหล่านั้นให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ตามความประสงค์    กิจกรรมจรวดขวดน้ำ      ครบเครื่องเรื่องสาระการเรียนรู้เชิงบูรณาการทั้ง   วิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์  การงานอาชีพและเทคโนโลยี       สุขศึกษาและพลศึกษา   สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม    ศิลปะ   ภาษาไทย  และภาษาอังกฤษ            วัตถุประสงค์1.   เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้หลักการออกแบบ และประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ2.   เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้หลักการทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาทักษะ      กระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างสนุกสนาน3.  เพื่อให้นักเรียนได้นำกิจกรรมจรวดขวดน้ำไปใช้กิจกรรมเสริมในการเรียน     วิทยาศาสตร์4.  เพื่อเตรียมนักเรียนไว้เข้าร่วมแข่งขันจรวดขวดน้ำในระดับต่างๆ5.  เพื่อฝึกให้นักเรียนได้ทำงานเป็นทีมเป็นระบบ เป้าหมาย (คุณภาพ)1.  นักเรียนระดับช่วงชั้นที่  ประดิษฐ์จรวดขวดน้ำเเละพัฒนาทักษะ     กระบวนการวิทยาศาสตร์ 2.  เป็นการกระตุ้นให้เกิดความคิดค้นกิจกรรมใหม่  ที่ส่งเสริมการเรียน   รู้ด้าน วิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยีของนักเรียน             วิธีการสร้างและพัฒนา      อุปกรณ์         1.  ขวดน้ำอัดลมเเบบพลาสติก  2 ขวดขนาด  1.25  ลิตร       2.  กรรไกร / คัตเตอร์        3.  พลาสติกลูกฟูก / บัตรเติมเงินโทรศัพท์        4.  เทปใส / กาวร้อน / กาวตราช้าง                  5.  ดินน้ำมัน / หนังสือพิมพ์           6. ไม้บรรทัด           7.  ปากกาเคมี          8.  เครื่องชั่ง    วิธีการสร้าง            1.  เตรียมขวดน้ำอัดลมแบบพลาสติก   ขวด  ขนาด  1.25   ลิตร            2. ใช้คัตเตอร์ตัดขวดใบแรกจะได้หัวจรวดกับกระโปรง            3. นำดินน้ำมันใส่เข้าไปในหัวจรวดนำไปชั่งเพื่อหาน้ำหนักของส่วนหัว               จรวดพร้อมฝาขวด (ประมาณ  200  กรัม)   แล้วนำไปประกอบกับ                ขวดใบแรก            4.  ทาด้วยกาวร้อน /  กาวตราช้าง  /  เทปใสให้เเน่น            5.  ออกแบบแพนหางตามจิตนาการ แล้วตัดให้ได้ตาม-ส่วน            6. ใช้กรรไกร ทำรอยบากที่บริเวณฐานของครีบแพนหางแต่ละอัน                ประมาณ   รอบ            7.  นำมาติดรอบกระโปรง    เว้นระยะเท่าๆกันแล้วติดให้แน่นด้วยกาว           เทปใส            8. นำหัวจรวดกับกระโปรงมาติดเข้ากับขวดใบที่สอง ทากาว /เทปใส               ให้แน่นและเรียบ ตรวจความสมบูรณ์ของตัวจรวด               9. จรวดขวดน้ำเสร็จสมบูรณ์ พร้อมนำไปยิงที่ฐานยิงที่พร้อมปรับมุม                 ฐานยิง เข้าร่วมแข่งขันประเภทความแม่นยำหรือประเภทความไกล                 โดยต้องได้  -ส่วนของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่   ความดันอากาศ           ปริมาณน้ำและมุมปล่อยจรวด   อย่างเหมาะสม          การพัฒนาการประดิษฐ์จรวจขวดน้ำ     ความน่าจะเป็น1.  เข้าใจกฎของนิวตัน      ว่าจรวดขวดน้ำออกแบบมาภายใต้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน   คือจรวดเคลื่อนที่สู่ท้องฟ้าด้วยกฎการเคลื่อนที่ข้อ 3  แรงกริยา  =  แรงปฏิกริยา   เมื่อเราใส่น้ำเข้าไปในจรวดและอัดอากาศเข้าไปน้ำจะทำหน้าที่ป้องกัน     ไม่ให้อากาศไหลย้อนกลับออกมาการอัดลมเข้าไปทำให้ความดันภายในลำตัวจรวดสูงขึ้น       เมื่อดึงสลักออก  แรงดันอากาศภายในจะดันให้น้ำพุ่งออกมา ทำให้เกิดแรงปฏิกิริยาดันให้จรวดพุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้า  เมื่อจรวดถูกปล่อยขึ้นไปแล้วแรงดันอากาศมิได้หายไปทันทีแต่จะลดลงเรื่อย ๆ  เนื่องจากปริมาณน้ำที่อยู่ในขวดจะช่วยชะลอให้แรงดันค่อย ๆ ลดลง                     2.   การใช้วัสดุมาประดิษฐ์     การออกแบบจรวดส่วนหัว          ส่วนกระโปรง  ขนาด  น้ำหนัก  การใช้กาว                       3.  การปรับมุมฐานยิง / ประเภทยิงแม่น ประเภทยิงไกล 4.  ความดันอากาศ ปริมาณน้ำที่เหมาะสม   ก็จะประสบ         ผลสำเร็จ                                                           สรุปผลการดำเนินงาน            นักเรียนได้ทำงานเป็นทีมเป็นระบบ ร่วมกันคิดอย่างสร้างสรรค์  มี       จินตนาการในการออกแบบจรวดขวดน้ำ  ได้รู้หลักการ  ทฤษฎีและได้        พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์   โดยการสังเกต  การทดลอง        หาเหตุปัจจัย  หาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ  ซึ่งเป็นการ       จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/133547

โพสโดย : ambowz
IP : 101.51.178.171
โพสเมื่อวันที่ : 13 ส.ค. 2558,17:32 น.
ความเห็นที่ 1
โพสโดย
ambowz
chern.1234.chern2345@gmail.com
เรื่อง จรวดขวดน้ำกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ชั้น .6โรงเรียนสามัคคีรถไฟชื่อผู้พัฒนา  นายประสพ  พรหมดิเรก…………หลักการและเหตุผล            การจัดการเรียนการสอนโครงงานเรื่องจรวดขวดน้ำ       เป็นกิจกรรมวิทยาศาสตร์ทางเลือกที่ผู้เรียนจะได้รับสาระประโยชน์             ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างครบถ้วน    ทั้งด้านเนื้อหาสาระวิชาการ  โดยเฉพาะเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน     การฝึกทักษะ       การฝึกฝนพัฒนาทักษะ  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์    เทคโนโลยีและความสนุกสนานตื่นเต้น      กิจกรรมจรวดขวดน้ำ    กระตุ้นและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์พัฒนาความสามารถในการประดิษฐ์ของผู้เล่น จากการนำขวดพลาสติก(ขวด PET)   ที่ทิ้งแล้วอาศัยจินตนาการและฝีมือมาประดิษฐ์ตกแต่ง  ต่อเติม  ให้เป็นรูปทรงจรวดที่ต้องการทั้งรูปร่าง     ทรวดทรงพร้อมแพนหาง หรือ ประดับแต่งแต้ม    สีสันตามใจชอบ         ควบคู่กับการคิดฝันออกแบบพัฒนาและประดิษฐ์ฐานปล่อยจรวดขวดน้ำให้จรวดขวดน้ำพุ่งขึ้นสู่อากาศสู่เป้าหมายที่ต้องการ           กิจกรรมจรวดขวดน้ำ  มีความท้าทายอยู่ในตัวนับตั้งแต่การคิดสร้างสรรค์  ประดิษฐ์จรวดขวดน้ำและฐานปล่อยจรวดขวดน้ำให้สำเร็จตามที่ออกแบบและพัฒนาการทดลองจนได้ผลเป็นที่พอใจ    ประการถัดมาคือสิ่งประดิษฐ์นั้นจะได้ผลตามวัตถุประสงค์ของผู้เล่นหรือไม่หรือสามารถปล่อยจรวดขวดน้ำลงสู่เป้าหมายที่กำหนดได้อย่างแม่นยำหรือไม่ขึ้นอยู่กับการสังเกต   ทดลอง    รวบรวมข้อมูล           และลงข้อสรุปของผู้เล่นในการผสม-ส่วนของปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่  ความดันอากาศ ปริมาณน้ำและมุมปล่อยจรวด อย่างเหมาะสม     กิจกรรมจรวดขวดน้ำ  มีต้นทุนต่ำจากการที่นำวัสดุอุปกรณ์ที่เป็นของทิ้งแล้วหรือเหลือใช้มาสร้างสรรค์ตกแต่ง   อาศัยจินตนาการความคิดสร้างสรรค์     และฝีมือในการประดิษฐ์คิดค้นที่จะใช้ประโยชน์จากวัสดุอุปกรณ์เหล่านั้นให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ตามความประสงค์    กิจกรรมจรวดขวดน้ำ      ครบเครื่องเรื่องสาระการเรียนรู้เชิงบูรณาการทั้ง   วิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์  การงานอาชีพและเทคโนโลยี       สุขศึกษาและพลศึกษา   สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม    ศิลปะ   ภาษาไทย  และภาษาอังกฤษ            วัตถุประสงค์1.   เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้หลักการออกแบบ และประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ2.   เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้หลักการทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาทักษะ      กระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างสนุกสนาน3.  เพื่อให้นักเรียนได้นำกิจกรรมจรวดขวดน้ำไปใช้กิจกรรมเสริมในการเรียน     วิทยาศาสตร์4.  เพื่อเตรียมนักเรียนไว้เข้าร่วมแข่งขันจรวดขวดน้ำในระดับต่างๆ5.  เพื่อฝึกให้นักเรียนได้ทำงานเป็นทีมเป็นระบบ เป้าหมาย (คุณภาพ)1.  นักเรียนระดับช่วงชั้นที่  ประดิษฐ์จรวดขวดน้ำเเละพัฒนาทักษะ     กระบวนการวิทยาศาสตร์ 2.  เป็นการกระตุ้นให้เกิดความคิดค้นกิจกรรมใหม่  ที่ส่งเสริมการเรียน   รู้ด้าน วิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยีของนักเรียน             วิธีการสร้างและพัฒนา      อุปกรณ์         1.  ขวดน้ำอัดลมเเบบพลาสติก  2 ขวดขนาด  1.25  ลิตร       2.  กรรไกร / คัตเตอร์        3.  พลาสติกลูกฟูก / บัตรเติมเงินโทรศัพท์        4.  เทปใส / กาวร้อน / กาวตราช้าง                  5.  ดินน้ำมัน / หนังสือพิมพ์           6. ไม้บรรทัด           7.  ปากกาเคมี          8.  เครื่องชั่ง    วิธีการสร้าง            1.  เตรียมขวดน้ำอัดลมแบบพลาสติก   ขวด  ขนาด  1.25   ลิตร            2. ใช้คัตเตอร์ตัดขวดใบแรกจะได้หัวจรวดกับกระโปรง            3. นำดินน้ำมันใส่เข้าไปในหัวจรวดนำไปชั่งเพื่อหาน้ำหนักของส่วนหัว               จรวดพร้อมฝาขวด (ประมาณ  200  กรัม)   แล้วนำไปประกอบกับ                ขวดใบแรก            4.  ทาด้วยกาวร้อน /  กาวตราช้าง  /  เทปใสให้เเน่น            5.  ออกแบบแพนหางตามจิตนาการ แล้วตัดให้ได้ตาม-ส่วน            6. ใช้กรรไกร ทำรอยบากที่บริเวณฐานของครีบแพนหางแต่ละอัน                ประมาณ   รอบ            7.  นำมาติดรอบกระโปรง    เว้นระยะเท่าๆกันแล้วติดให้แน่นด้วยกาว           เทปใส            8. นำหัวจรวดกับกระโปรงมาติดเข้ากับขวดใบที่สอง ทากาว /เทปใส               ให้แน่นและเรียบ ตรวจความสมบูรณ์ของตัวจรวด               9. จรวดขวดน้ำเสร็จสมบูรณ์ พร้อมนำไปยิงที่ฐานยิงที่พร้อมปรับมุม                 ฐานยิง เข้าร่วมแข่งขันประเภทความแม่นยำหรือประเภทความไกล                 โดยต้องได้  -ส่วนของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่   ความดันอากาศ           ปริมาณน้ำและมุมปล่อยจรวด   อย่างเหมาะสม          การพัฒนาการประดิษฐ์จรวจขวดน้ำ     ความน่าจะเป็น1.  เข้าใจกฎของนิวตัน      ว่าจรวดขวดน้ำออกแบบมาภายใต้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน   คือจรวดเคลื่อนที่สู่ท้องฟ้าด้วยกฎการเคลื่อนที่ข้อ 3  แรงกริยา  =  แรงปฏิกริยา   เมื่อเราใส่น้ำเข้าไปในจรวดและอัดอากาศเข้าไปน้ำจะทำหน้าที่ป้องกัน     ไม่ให้อากาศไหลย้อนกลับออกมาการอัดลมเข้าไปทำให้ความดันภายในลำตัวจรวดสูงขึ้น       เมื่อดึงสลักออก  แรงดันอากาศภายในจะดันให้น้ำพุ่งออกมา ทำให้เกิดแรงปฏิกิริยาดันให้จรวดพุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้า  เมื่อจรวดถูกปล่อยขึ้นไปแล้วแรงดันอากาศมิได้หายไปทันทีแต่จะลดลงเรื่อย ๆ  เนื่องจากปริมาณน้ำที่อยู่ในขวดจะช่วยชะลอให้แรงดันค่อย ๆ ลดลง                     2.   การใช้วัสดุมาประดิษฐ์     การออกแบบจรวดส่วนหัว          ส่วนกระโปรง  ขนาด  น้ำหนัก  การใช้กาว                       3.  การปรับมุมฐานยิง / ประเภทยิงแม่น ประเภทยิงไกล 4.  ความดันอากาศ ปริมาณน้ำที่เหมาะสม   ก็จะประสบ         ผลสำเร็จ                                                           สรุปผลการดำเนินงาน            นักเรียนได้ทำงานเป็นทีมเป็นระบบ ร่วมกันคิดอย่างสร้างสรรค์  มี       จินตนาการในการออกแบบจรวดขวดน้ำ  ได้รู้หลักการ  ทฤษฎีและได้        พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์   โดยการสังเกต  การทดลอง        หาเหตุปัจจัย  หาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ
โพสโดย : ambowz
IP : 101.51.178.171
โพสเมื่อวันที่ : 13 ส.ค. 2558,17:28 น.
แสดงความเห็น
ความคิดเห็น :
ชื่อ :
อีเมล์ :
เบอร์โทร :
กรอกรหัส :