 |
ถาม-ตอบ (Q&A) |
 |
ส่งงานวิชาฟิสิกส์ ว 30204 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ประโยชน์ของไฟฟ้าสถิตย์ในชีวิตประจำวัน |
|
IP : 101.51.161.183
โพสเมื่อวันที่ : 03 ส.ค. 2558,11:15 น.
|
ความเห็นที่ 9 |
|
13.13 การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์
เราเรียนรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตมามากมายแล้ว ทั้งในเรื่องของการเกิดไฟฟ้สถิต การนำไฟฟ้าของตัวนำและฉนวน การทดสอบประจุไฟฟ้า ถึงชนิดและประเภทของประจุบนวัตถุใดๆ แรงกระทำระหว่างประจุไฟฟ้า สนามไฟฟ้า เส้นสนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุและตัวเก็บประจุ พลังงานสะสมภายในเมื่อต่อตัวเก็บประจุเข้ากับศักย์ไฟฟ้า ตลอดจนการหาค่าความจุไฟฟ้ารวมในการต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม แบบนาน และแบบผสม
ถึงหัวข้อนี้เราลองมาศึกษาการนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้่ประโยชน์กันเลยนะครับ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายการนำความรู้เรื่องไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
2. นักเรียนสามารถอธิบายการทำงานของเครื่องถ่ายเิอกสาร เครื่องพ่นสี และไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุได้อย่างถูกต้อง
1. เครื่องถ่ายเอกสาร
เครื่องถ่ายเอกสาร เป็นอุปกรณ์ถ่ายสำเนาสิ่งพิมพ์ที่เป็นอักษร หรือภาพซึ่งเป็นเอกสารต้นฉบับ มีหลักการทำงาน คือ ดรัมทรงกระบอกที่ฉาบด้วยวัสดุตัวนำไวแสง ซึ่งปกติจะเป็นฉนวนทีมีประจุขนาดที่ยังไม่ถูกแสง และแสดงสมบัติเป็นตัวนำโดยการปล่อยประจุออกจากผิวอย่างรวดเร็วเมื่อถูกแสง วัสดุที่ฉาบนี้เป็นฟิล์มบนผิวของดรัม เมื่อเครื่องเริ่มทำงาน ฟิลม์นี้จะถูกทำให้มีประจุไฟฟ้าบวกตลอดทั่วทั้งแผ่น ต่อจากนั้นจะมีแสงสว่างส่องไปที่สิ่งพิมพ์ แล้วสะท้อนจากกระจกเงาผ่านเลนส์ไปกระทบฟิล์มในที่สุด บริเวณที่เป็นสีขาวบนด้านสำเนาของสิ่งพิมพ์จะให้แสงผ่านทะลุผ่านออกไปกระทบฟิล์มทำให้บริเวณที่ถูกแสงมีสมบัติเป็นตัวนำและเกิดการปล่อยประจุให้หลุดไป เป็นผลให้บริเวณนั้นมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า ส่วนตัวอักษรหรือภาพลายเส้นบนสำเนาของสิ่งพิมพ์ที่เป็นสีดำจะดูดกลืนแสง จึงไม่ให้แสงผ่านออกมากระทบฟิล์ม ทำให้บริเวณที่ไม่ถูกแสงบนแผ่นฟิล์มยังคงมีประจุบวกดูดผงหมึกให้ติดอยู่
ที่มาของรูป :
http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/5/Zerox/3-1.jpg
ดังนั้น ขณะเครื่องพ่นผงหมึกที่ประจุไฟฟ้าลบไปที่ฟิล์มนี้ ผงหมึกจะไปเกาะเฉพาะบริเวณที่มีประจุบวกเท่านั้น ซึ่งเป็นบริเวณที่เกิดจากส่วนที่เป็นตัวอักษรหรือภาพลายเส้น ส่วนบริเวณอื่นที่ไม่มีประจุไฟฟ้าจะไม่มีผงหมึกเกาะ ทำให้เห็นเป็นภาพของเอกสารต้นฉบับบนแผ่นฟิล์มเมื่อแผ่นกระดาษที่้ต้องการถ่ายสำเนาถูกเลื่อนและหมุนไปพร้อมกับดรัม ผงหมึกบนแผ่นฟิล์มจะถูกถ่ายโอนลงบนกระดาษจะได้ภาพสำเนาปรากฎบนแผ่นกระดา่ษ นำกระดาษนี้ไปผ่านส่วนทำึความร้อนเพื่อให้ผงหมึกติดแผ่น ก็จะได้ภาพสำเนาบนแผ่นกระดาษที่ชัดเจนและถาวร
ที่มาของรูป :
http://www.psncenter.com/shop/p/psncenter/img-lib/spd_20071002120536_b.jpg
2. เครื่องพ่นสี
เครื่องพ่นสี เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับพ่นผงหรือละอองสี เพื่อให้สีเกาะติดชิ้นงานได้ดีกว่าการพ่นแบบธรรมดามีลักษณะดังรูป
ที่มาของรูป :
http://www.thaigoodview.com/files/u41071/electric3_0.jpg
ใช้หลักการทำผงหรือละอองสีกลายเป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ขณะผงถูกพ่นออกมาจากเครื่องพ่น มีผลให้ผงหรือละอองสีที่มีประจไฟฟ้านั้นมีแรงดึงดูดกับผิวชิ้นงานและจะเกาะติดชิ้นงานนั้นได้ดี นอกจากนี้กรณีชิ้นงานที่เป็นโลหะหากมีการต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์สูงๆ จะทำให้ชิ้นงานที่เป็นโลหะมีประจุตรงกันข้ามกับผงหรือละอองสียึดเคลือบกับผิวชิ้นงานดียิ่งขึ้น อีกทั้งทำให้ประหยัดผงสีด้วย เพราะละอองสีไม่ฟุ้งกระจายมาก
3. ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ
ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ ประกอบด้วยแผ่นโลหะ 2 แผ่นที่ขนานกัน แ้่ผ่นหนึ่งทำหน้าที่เป็นไดอะแฟรมรับคลื่นเสียง ส่วนแผ่นที่สองยึดติดกับฐานโดยที่แผ่นรับคลื่นเสียงจะบางมาก เมื่อมีคลื่นเสียงมากระทบจะสั่นตามความถี่ และกำลังของคลื่นเสียง ซึ่งเป็นผลมาจากการสั่นของแผ่นบางนี้จะทำให้ความจุเปลี่ยนแปลง เมื่อต่อไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุนี้ต่ออนุกรมกับตัวต้านทานดังรูป ความต่างศักย์คร่อมไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุจะเปลี่ยนแปลงตามความถี่ของคลื่นเสียงเป็นผลให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า
ที่มาของรูป :
http://www.vcharkarn.com/userfiles/213156/1%20(55)(2).jpg
ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุที่วิทยุเทปกระเป๋าหิ้ว
ที่มาของรูป :
http://www.vcharkarn.com/userfiles/213156/1%20(56)(3).jpg
จากหลักการที่กล่าวมาแล้ว เราสามารถนำไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุนี้ไปใช้งานด้านเสียงไม่ว่าจะเป็นเสียงดนตรี เสียงร้องเพลง เสียงพูด เป็นต้น โดยให้เสียงที่ชัดเจน จึงนิยมใ้ช้ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุกันทั่วไป ไมโครโฟนประเภทนี้มี 2 แบบ คือ แบบใช้งานในสถานีวิทยุโทรทัศน์จะมีราคาแพงมาก กับแบบที่ใช้งานในวิทยุเทปกระเป๋าหิ้วซึ่งมีราคาถูกมาก หลักการทำงานจะเป็นเช่นเดียวกัน แต่จะแตกต่างกันในรายละเอียดของการสร้าง
ที่มาของรูป :
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?action=dlattach;topic=663.0;attach=4241;image
ที่มาของรูป :
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?action=dlattach;topic=663.0;attach=4242;image
ขอบคุณข้อมูลจาก
หนังสือเรียนฟิสิกส์ รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์เพิ่มเติม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/5/Zerox/Zerox4.htm
http://www.psncenter.com/product-th-201167-1252118-SHARP+COPIER+AR+5631.html
http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1203
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?topic=663.0
หลังจากที่ได้ศึกษาใบความรู้แล้ว เราลองมาตอบคำถามกันดูนะครับ
Share this:
Twitter3FacebookGoogle
ใส่ความเห็น
อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *
ชื่อ *
อีเมล์ *
เว็บไซท์
ความเห็น
Notify me of new comments via email.
Notify me of new posts via email.
tarn zaaaa บน กุมภาพันธ์ 21, 2014 ที่ 8:54 pm
งานผมคืบหน้าเพราะสิ่งนี้
ตอบกลับ
View Full Site
Create a free website or blog at WordPress.com.
Now Available! Download WordPress for Android
|
|
IP : 101.51.181.18
โพสเมื่อวันที่ : 28 ส.ค. 2558,11:33 น.
|
ความเห็นที่ 8 |
|
IP : 49.230.77.220
โพสเมื่อวันที่ : 28 ส.ค. 2558,11:18 น.
|
ความเห็นที่ 7 |
|
IP : 101.51.181.18
โพสเมื่อวันที่ : 28 ส.ค. 2558,11:00 น.
|
ความเห็นที่ 6 |
โพสโดย
x
mjhn2992@gmail.com
|
ประโยชน์ของไฟฟ้าสถิต เช่น การดูดนำมันจากใต้ดิน เครื่องพิมพ์เลเซอร์ การใช้ความต่างศักย์เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์?
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต (Static electricity) เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากัน ปกติจะแสดงในรูปการดึงดูด, การผลักกัน และเกิดประกายไฟ
การเกิดไฟฟ้าสถิต
การที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันทำให้เกิดแรงดึงดูดเมื่อวัตถุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุต่างชนิดกัน หรือเกิดแรงผลักกันเมื่อวัสดุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุชนิดเดียวกัน เราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชิ้นมาขัดสีกัน พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยนกัน โดยจะเกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า ฉนวน ตัวอย่างเช่น ยาง, พลาสติก และแก้ว สำหรับวัสดุประเภทที่นำไฟฟ้านั้นโอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุไม่เท่ากันนั้นยากแต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น กรณีที่ผิวโลหะถูกกระแทกด้วยของแข็งหรือของเหลวที่ไม่เป็นตัวนำ ประจุที่เกิดการเคลื่อนย้ายระหว่างการสัมผัสจะถูกเก็บบนผิวของวัสดุทั้ง 2 ชิ้น
ไฟฟ้าสถิตเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่คุ้นเคยสำหรับประเทศที่มีอากาศหนาว ในฤดูหนาวสำหรับประเทศเหล่านี้ความชื้นในอากาศจะต่ำมาก การเกิดไฟฟ้าสถิตบนผิวหนังจะเกิดขึ้นง่ายมาก ดังนั้นเมื่อเกิดการสัมผัสกับวัสดุประเภทตัวนำจะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไปยังตัวนำอย่างรวดเร็วทำให้เกิดอาการสะดุ้งได้ และนอกจากนั้นยังสามารถทำความเสียหายให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์
เช่น
1. เครื่องถ่ายเอกสาร
2. เครื่องกำจัดฝุ่นในอากาศ
3. เครื่องพ่นสี
4. ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ
การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์ ทางด้านกรแพทย์
เช่น
ชุดประดิษฐ์เส้นใยนาโน
ผลงานรางวัลชมเชย ประจำปี 2549 ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ผลงานประดิษฐ์ " ระบบอิเล็กโตรสปินนิ่งควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ สำหรับประดิษฐ์เส้นใยนาโน ” ( Computer-controlled Electrospinning System for Nanofibres Fabrication ) จากทีมวิจัย ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้รับรางวัลชมเชยผลงานประดิษฐ์คิดค้น สาขาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ( สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์) ประจำปี 2549 ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ( วช.)
ในปัจจุบัน เส้นใยนาโน (nanofibres) ซึ่งจัดเป็นหนึ่งในวัสดุนาโนที่สำคัญ เป็นเส้นใยสังเคราะห์ที่กำลังได้รับความสนใจอย่างมาก เนื่องจากเส้นใยมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางในระดับนาโนเมตร ซึ่งมีข้อดี คือ มีอัตราส่วนระหว่างพื้นผิวต่อปริมาตร (surface-to-volume ratio) สูงมากกว่า 1,000 เท่า เมื่อเทียบกับเส้นใยในระดับไมโครเมตร (microfibres) และมีขนาดของรูพรุน (pore) ที่เล็ก ส่งผลทำให้มีสมบัติต่าง ๆ เช่น สมบัติเชิงกล สมบัติทางไฟฟ้า หรือสมบัติอื่น ๆ ที่ดีมาก เหมาะสำหรับงานเฉพาะด้าน ซึ่งต้องการความได้เปรียบของขนาดที่จิ๋วแต่แจ๋ว ไปใช้ เช่น การประยุกต์ใช้งานของเส้นใยนาโนพอลิเมอร์ที่ย่อยสลายได้ ไม่เป็นพิษ และมีความเข้ากันได้ทางชีวภาพ สำหรับงานทางด้านวิศวกรรมเนื้อเยื่อกระดูก ( bone tissue engineering ) ผ้าปิดแผล (wound dressing) ระบบส่งยา (drug delivery system) ระบบการกรองอย่างละเอียด (ultrafiltration) เป็นต้น |
|
IP : 49.230.242.38
โพสเมื่อวันที่ : 19 ส.ค. 2558,19:11 น.
|
ความเห็นที่ 5 |
โพสโดย
siriporn
siripornTammawat@gmail.com
|
ส่งงานแล้วนะคะ น.ส.ศิริพร ธรรมวัตร ม.6 |
|
IP : 49.230.112.116
โพสเมื่อวันที่ : 19 ส.ค. 2558,15:13 น.
|
ความเห็นที่ 4 |
โพสโดย
siriporn
siripornTammawat@gmail.com
|
13.13 การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์
เราเรียนรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตมามากมายแล้ว ทั้งในเรื่องของการเกิดไฟฟ้สถิต การนำไฟฟ้าของตัวนำและฉนวน การทดสอบประจุไฟฟ้า ถึงชนิดและประเภทของประจุบนวัตถุใดๆ แรงกระทำระหว่างประจุไฟฟ้า สนามไฟฟ้า เส้นสนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุและตัวเก็บประจุ พลังงานสะสมภายในเมื่อต่อตัวเก็บประจุเข้ากับศักย์ไฟฟ้า ตลอดจนการหาค่าความจุไฟฟ้ารวมในการต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม แบบนาน และแบบผสม
ถึงหัวข้อนี้เราลองมาศึกษาการนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้่ประโยชน์กันเลยนะครับ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายการนำความรู้เรื่องไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
2. นักเรียนสามารถอธิบายการทำงานของเครื่องถ่ายเิอกสาร เครื่องพ่นสี และไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุได้อย่างถูกต้อง
1. เครื่องถ่ายเอกสาร
เครื่องถ่ายเอกสาร เป็นอุปกรณ์ถ่ายสำเนาสิ่งพิมพ์ที่เป็นอักษร หรือภาพซึ่งเป็นเอกสารต้นฉบับ มีหลักการทำงาน คือ ดรัมทรงกระบอกที่ฉาบด้วยวัสดุตัวนำไวแสง ซึ่งปกติจะเป็นฉนวนทีมีประจุขนาดที่ยังไม่ถูกแสง และแสดงสมบัติเป็นตัวนำโดยการปล่อยประจุออกจากผิวอย่างรวดเร็วเมื่อถูกแสง วัสดุที่ฉาบนี้เป็นฟิล์มบนผิวของดรัม เมื่อเครื่องเริ่มทำงาน ฟิลม์นี้จะถูกทำให้มีประจุไฟฟ้าบวกตลอดทั่วทั้งแผ่น ต่อจากนั้นจะมีแสงสว่างส่องไปที่สิ่งพิมพ์ แล้วสะท้อนจากกระจกเงาผ่านเลนส์ไปกระทบฟิล์มในที่สุด บริเวณที่เป็นสีขาวบนด้านสำเนาของสิ่งพิมพ์จะให้แสงผ่านทะลุผ่านออกไปกระทบฟิล์มทำให้บริเวณที่ถูกแสงมีสมบัติเป็นตัวนำและเกิดการปล่อยประจุให้หลุดไป เป็นผลให้บริเวณนั้นมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า ส่วนตัวอักษรหรือภาพลายเส้นบนสำเนาของสิ่งพิมพ์ที่เป็นสีดำจะดูดกลืนแสง จึงไม่ให้แสงผ่านออกมากระทบฟิล์ม ทำให้บริเวณที่ไม่ถูกแสงบนแผ่นฟิล์มยังคงมีประจุบวกดูดผงหมึกให้ติดอยู่
ที่มาของรูป :
http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/5/Zerox/3-1.jpg
ดังนั้น ขณะเครื่องพ่นผงหมึกที่ประจุไฟฟ้าลบไปที่ฟิล์มนี้ ผงหมึกจะไปเกาะเฉพาะบริเวณที่มีประจุบวกเท่านั้น ซึ่งเป็นบริเวณที่เกิดจากส่วนที่เป็นตัวอักษรหรือภาพลายเส้น ส่วนบริเวณอื่นที่ไม่มีประจุไฟฟ้าจะไม่มีผงหมึกเกาะ ทำให้เห็นเป็นภาพของเอกสารต้นฉบับบนแผ่นฟิล์มเมื่อแผ่นกระดาษที่้ต้องการถ่ายสำเนาถูกเลื่อนและหมุนไปพร้อมกับดรัม ผงหมึกบนแผ่นฟิล์มจะถูกถ่ายโอนลงบนกระดาษจะได้ภาพสำเนาปรากฎบนแผ่นกระดา่ษ นำกระดาษนี้ไปผ่านส่วนทำึความร้อนเพื่อให้ผงหมึกติดแผ่น ก็จะได้ภาพสำเนาบนแผ่นกระดาษที่ชัดเจนและถาวร
ที่มาของรูป :
http://www.psncenter.com/shop/p/psncenter/img-lib/spd_20071002120536_b.jpg
2. เครื่องพ่นสี
เครื่องพ่นสี เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับพ่นผงหรือละอองสี เพื่อให้สีเกาะติดชิ้นงานได้ดีกว่าการพ่นแบบธรรมดามีลักษณะดังรูป
ที่มาของรูป :
http://www.thaigoodview.com/files/u41071/electric3_0.jpg
ใช้หลักการทำผงหรือละอองสีกลายเป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ขณะผงถูกพ่นออกมาจากเครื่องพ่น มีผลให้ผงหรือละอองสีที่มีประจไฟฟ้านั้นมีแรงดึงดูดกับผิวชิ้นงานและจะเกาะติดชิ้นงานนั้นได้ดี นอกจากนี้กรณีชิ้นงานที่เป็นโลหะหากมีการต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์สูงๆ จะทำให้ชิ้นงานที่เป็นโลหะมีประจุตรงกันข้ามกับผงหรือละอองสียึดเคลือบกับผิวชิ้นงานดียิ่งขึ้น อีกทั้งทำให้ประหยัดผงสีด้วย เพราะละอองสีไม่ฟุ้งกระจายมาก
3. ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ
ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ ประกอบด้วยแผ่นโลหะ 2 แผ่นที่ขนานกัน แ้่ผ่นหนึ่งทำหน้าที่เป็นไดอะแฟรมรับคลื่นเสียง ส่วนแผ่นที่สองยึดติดกับฐานโดยที่แผ่นรับคลื่นเสียงจะบางมาก เมื่อมีคลื่นเสียงมากระทบจะสั่นตามความถี่ และกำลังของคลื่นเสียง ซึ่งเป็นผลมาจากการสั่นของแผ่นบางนี้จะทำให้ความจุเปลี่ยนแปลง เมื่อต่อไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุนี้ต่ออนุกรมกับตัวต้านทานดังรูป ความต่างศักย์คร่อมไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุจะเปลี่ยนแปลงตามความถี่ของคลื่นเสียงเป็นผลให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า
ที่มาของรูป :
http://www.vcharkarn.com/userfiles/213156/1%20(55)(2).jpg
ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุที่วิทยุเทปกระเป๋าหิ้ว
ที่มาของรูป :
http://www.vcharkarn.com/userfiles/213156/1%20(56)(3).jpg
จากหลักการที่กล่าวมาแล้ว เราสามารถนำไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุนี้ไปใช้งานด้านเสียงไม่ว่าจะเป็นเสียงดนตรี เสียงร้องเพลง เสียงพูด เป็นต้น โดยให้เสียงที่ชัดเจน จึงนิยมใ้ช้ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุกันทั่วไป ไมโครโฟนประเภทนี้มี 2 แบบ คือ แบบใช้งานในสถานีวิทยุโทรทัศน์จะมีราคาแพงมาก กับแบบที่ใช้งานในวิทยุเทปกระเป๋าหิ้วซึ่งมีราคาถูกมาก หลักการทำงานจะเป็นเช่นเดียวกัน แต่จะแตกต่างกันในรายละเอียดของการสร้าง
ที่มาของรูป :
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?action=dlattach;topic=663.0;attach=4241;image
ที่มาของรูป :
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?action=dlattach;topic=663.0;attach=4242;image
ขอบคุณข้อมูลจาก
หนังสือเรียนฟิสิกส์ รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์เพิ่มเติม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/5/Zerox/Zerox4.htm
http://www.psncenter.com/product-th-201167-1252118-SHARP+COPIER+AR+5631.html
http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1203
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?topic=663.0
หลังจากที่ได้ศึกษาใบความรู้แล้ว เราลองมาตอบคำถามกันดูนะครับ
Share this:
Twitter3Facebook6Google
ใส่ความเห็น
อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *
ชื่อ *
อีเมล์ *
เว็บไซท์
ความเห็น
Notify me of new comments via email.
Notify me of new posts via email.
tarn zaaaa บน กุมภาพันธ์ 21, 2014 ที่ 8:54 pm
งานผมคืบหน้าเพราะสิ่งนี้
ตอบกลับ
View Full Site
บลอกที่ WordPress.com .
Now Available! Download WordPress for Android
|
|
IP : 49.230.112.116
โพสเมื่อวันที่ : 19 ส.ค. 2558,15:11 น.
|
ความเห็นที่ 3 |
โพสโดย
ARUNSRI
arunsrifanee@gmail.com
|
13.13 การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์
เราเรียนรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตมามากมายแล้ว ทั้งในเรื่องของการเกิดไฟฟ้สถิต การนำไฟฟ้าของตัวนำและฉนวน การทดสอบประจุไฟฟ้า ถึงชนิดและประเภทของประจุบนวัตถุใดๆ แรงกระทำระหว่างประจุไฟฟ้า สนามไฟฟ้า เส้นสนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุและตัวเก็บประจุ พลังงานสะสมภายในเมื่อต่อตัวเก็บประจุเข้ากับศักย์ไฟฟ้า ตลอดจนการหาค่าความจุไฟฟ้ารวมในการต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม แบบนาน และแบบผสม
ถึงหัวข้อนี้เราลองมาศึกษาการนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้่ประโยชน์กันเลยนะครับ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายการนำความรู้เรื่องไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
2. นักเรียนสามารถอธิบายการทำงานของเครื่องถ่ายเิอกสาร เครื่องพ่นสี และไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุได้อย่างถูกต้อง
1. เครื่องถ่ายเอกสาร
เครื่องถ่ายเอกสาร เป็นอุปกรณ์ถ่ายสำเนาสิ่งพิมพ์ที่เป็นอักษร หรือภาพซึ่งเป็นเอกสารต้นฉบับ มีหลักการทำงาน คือ ดรัมทรงกระบอกที่ฉาบด้วยวัสดุตัวนำไวแสง ซึ่งปกติจะเป็นฉนวนทีมีประจุขนาดที่ยังไม่ถูกแสง และแสดงสมบัติเป็นตัวนำโดยการปล่อยประจุออกจากผิวอย่างรวดเร็วเมื่อถูกแสง วัสดุที่ฉาบนี้เป็นฟิล์มบนผิวของดรัม เมื่อเครื่องเริ่มทำงาน ฟิลม์นี้จะถูกทำให้มีประจุไฟฟ้าบวกตลอดทั่วทั้งแผ่น ต่อจากนั้นจะมีแสงสว่างส่องไปที่สิ่งพิมพ์ แล้วสะท้อนจากกระจกเงาผ่านเลนส์ไปกระทบฟิล์มในที่สุด บริเวณที่เป็นสีขาวบนด้านสำเนาของสิ่งพิมพ์จะให้แสงผ่านทะลุผ่านออกไปกระทบฟิล์มทำให้บริเวณที่ถูกแสงมีสมบัติเป็นตัวนำและเกิดการปล่อยประจุให้หลุดไป เป็นผลให้บริเวณนั้นมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า ส่วนตัวอักษรหรือภาพลายเส้นบนสำเนาของสิ่งพิมพ์ที่เป็นสีดำจะดูดกลืนแสง จึงไม่ให้แสงผ่านออกมากระทบฟิล์ม ทำให้บริเวณที่ไม่ถูกแสงบนแผ่นฟิล์มยังคงมีประจุบวกดูดผงหมึกให้ติดอยู่
ที่มาของรูป :
http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/5/Zerox/3-1.jpg
ดังนั้น ขณะเครื่องพ่นผงหมึกที่ประจุไฟฟ้าลบไปที่ฟิล์มนี้ ผงหมึกจะไปเกาะเฉพาะบริเวณที่มีประจุบวกเท่านั้น ซึ่งเป็นบริเวณที่เกิดจากส่วนที่เป็นตัวอักษรหรือภาพลายเส้น ส่วนบริเวณอื่นที่ไม่มีประจุไฟฟ้าจะไม่มีผงหมึกเกาะ ทำให้เห็นเป็นภาพของเอกสารต้นฉบับบนแผ่นฟิล์มเมื่อแผ่นกระดาษที่้ต้องการถ่ายสำเนาถูกเลื่อนและหมุนไปพร้อมกับดรัม ผงหมึกบนแผ่นฟิล์มจะถูกถ่ายโอนลงบนกระดาษจะได้ภาพสำเนาปรากฎบนแผ่นกระดา่ษ นำกระดาษนี้ไปผ่านส่วนทำึความร้อนเพื่อให้ผงหมึกติดแผ่น ก็จะได้ภาพสำเนาบนแผ่นกระดาษที่ชัดเจนและถาวร
ที่มาของรูป :
http://www.psncenter.com/shop/p/psncenter/img-lib/spd_20071002120536_b.jpg
2. เครื่องพ่นสี
เครื่องพ่นสี เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับพ่นผงหรือละอองสี เพื่อให้สีเกาะติดชิ้นงานได้ดีกว่าการพ่นแบบธรรมดามีลักษณะดังรูป
ที่มาของรูป :
http://www.thaigoodview.com/files/u41071/electric3_0.jpg
ใช้หลักการทำผงหรือละอองสีกลายเป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ขณะผงถูกพ่นออกมาจากเครื่องพ่น มีผลให้ผงหรือละอองสีที่มีประจไฟฟ้านั้นมีแรงดึงดูดกับผิวชิ้นงานและจะเกาะติดชิ้นงานนั้นได้ดี นอกจากนี้กรณีชิ้นงานที่เป็นโลหะหากมีการต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์สูงๆ จะทำให้ชิ้นงานที่เป็นโลหะมีประจุตรงกันข้ามกับผงหรือละอองสียึดเคลือบกับผิวชิ้นงานดียิ่งขึ้น อีกทั้งทำให้ประหยัดผงสีด้วย เพราะละอองสีไม่ฟุ้งกระจายมาก
3. ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ
ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ ประกอบด้วยแผ่นโลหะ 2 แผ่นที่ขนานกัน แ้่ผ่นหนึ่งทำหน้าที่เป็นไดอะแฟรมรับคลื่นเสียง ส่วนแผ่นที่สองยึดติดกับฐานโดยที่แผ่นรับคลื่นเสียงจะบางมาก เมื่อมีคลื่นเสียงมากระทบจะสั่นตามความถี่ และกำลังของคลื่นเสียง ซึ่งเป็นผลมาจากการสั่นของแผ่นบางนี้จะทำให้ความจุเปลี่ยนแปลง เมื่อต่อไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุนี้ต่ออนุกรมกับตัวต้านทานดังรูป ความต่างศักย์คร่อมไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุจะเปลี่ยนแปลงตามความถี่ของคลื่นเสียงเป็นผลให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า
ที่มาของรูป :
http://www.vcharkarn.com/userfiles/213156/1%20(55)(2).jpg
ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุที่วิทยุเทปกระเป๋าหิ้ว
ที่มาของรูป :
http://www.vcharkarn.com/userfiles/213156/1%20(56)(3).jpg
จากหลักการที่กล่าวมาแล้ว เราสามารถนำไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุนี้ไปใช้งานด้านเสียงไม่ว่าจะเป็นเสียงดนตรี เสียงร้องเพลง เสียงพูด เป็นต้น โดยให้เสียงที่ชัดเจน จึงนิยมใ้ช้ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุกันทั่วไป ไมโครโฟนประเภทนี้มี 2 แบบ คือ แบบใช้งานในสถานีวิทยุโทรทัศน์จะมีราคาแพงมาก กับแบบที่ใช้งานในวิทยุเทปกระเป๋าหิ้วซึ่งมีราคาถูกมาก หลักการทำงานจะเป็นเช่นเดียวกัน แต่จะแตกต่างกันในรายละเอียดของการสร้าง
ที่มาของรูป :
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?action=dlattach;topic=663.0;attach=4241;image
ที่มาของรูป :
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?action=dlattach;topic=663.0;attach=4242;image
ขอบคุณข้อมูลจาก
หนังสือเรียนฟิสิกส์ รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์เพิ่มเติม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/5/Zerox/Zerox4.htm
http://www.psncenter.com/product-th-201167-1252118-SHARP+COPIER+AR+5631.html
http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1203
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?topic=663.0
หลังจากที่ได้ศึกษาใบความรู้แล้ว เราลองมาตอบคำถามกันดูนะครับ
Share this:
Twitter3Facebook6Google
ใส่ความเห็น
อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *
ชื่อ *
อีเมล์ *
เว็บไซท์
ความเห็น
Notify me of new comments via email.
Notify me of new posts via email.
tarn zaaaa บน กุมภาพันธ์ 21, 2014 ที่ 8:54 pm
งานผมคืบหน้าเพราะสิ่งนี้
ตอบกลับ
View Full Site
บลอกที่ WordPress.com .
Now Available! Download WordPress for Android
|
|
IP : 49.230.112.116
โพสเมื่อวันที่ : 19 ส.ค. 2558,15:03 น.
|
ความเห็นที่ 2 |
โพสโดย
ARUNSRI
arunsrifanee@gmail.com
|
13.13 การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์
เราเรียนรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตมามากมายแล้ว ทั้งในเรื่องของการเกิดไฟฟ้สถิต การนำไฟฟ้าของตัวนำและฉนวน การทดสอบประจุไฟฟ้า ถึงชนิดและประเภทของประจุบนวัตถุใดๆ แรงกระทำระหว่างประจุไฟฟ้า สนามไฟฟ้า เส้นสนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุและตัวเก็บประจุ พลังงานสะสมภายในเมื่อต่อตัวเก็บประจุเข้ากับศักย์ไฟฟ้า ตลอดจนการหาค่าความจุไฟฟ้ารวมในการต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม แบบนาน และแบบผสม
ถึงหัวข้อนี้เราลองมาศึกษาการนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้่ประโยชน์กันเลยนะครับ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายการนำความรู้เรื่องไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
2. นักเรียนสามารถอธิบายการทำงานของเครื่องถ่ายเิอกสาร เครื่องพ่นสี และไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุได้อย่างถูกต้อง
1. เครื่องถ่ายเอกสาร
เครื่องถ่ายเอกสาร เป็นอุปกรณ์ถ่ายสำเนาสิ่งพิมพ์ที่เป็นอักษร หรือภาพซึ่งเป็นเอกสารต้นฉบับ มีหลักการทำงาน คือ ดรัมทรงกระบอกที่ฉาบด้วยวัสดุตัวนำไวแสง ซึ่งปกติจะเป็นฉนวนทีมีประจุขนาดที่ยังไม่ถูกแสง และแสดงสมบัติเป็นตัวนำโดยการปล่อยประจุออกจากผิวอย่างรวดเร็วเมื่อถูกแสง วัสดุที่ฉาบนี้เป็นฟิล์มบนผิวของดรัม เมื่อเครื่องเริ่มทำงาน ฟิลม์นี้จะถูกทำให้มีประจุไฟฟ้าบวกตลอดทั่วทั้งแผ่น ต่อจากนั้นจะมีแสงสว่างส่องไปที่สิ่งพิมพ์ แล้วสะท้อนจากกระจกเงาผ่านเลนส์ไปกระทบฟิล์มในที่สุด บริเวณที่เป็นสีขาวบนด้านสำเนาของสิ่งพิมพ์จะให้แสงผ่านทะลุผ่านออกไปกระทบฟิล์มทำให้บริเวณที่ถูกแสงมีสมบัติเป็นตัวนำและเกิดการปล่อยประจุให้หลุดไป เป็นผลให้บริเวณนั้นมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า ส่วนตัวอักษรหรือภาพลายเส้นบนสำเนาของสิ่งพิมพ์ที่เป็นสีดำจะดูดกลืนแสง จึงไม่ให้แสงผ่านออกมากระทบฟิล์ม ทำให้บริเวณที่ไม่ถูกแสงบนแผ่นฟิล์มยังคงมีประจุบวกดูดผงหมึกให้ติดอยู่
ที่มาของรูป :
http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/5/Zerox/3-1.jpg
ดังนั้น ขณะเครื่องพ่นผงหมึกที่ประจุไฟฟ้าลบไปที่ฟิล์มนี้ ผงหมึกจะไปเกาะเฉพาะบริเวณที่มีประจุบวกเท่านั้น ซึ่งเป็นบริเวณที่เกิดจากส่วนที่เป็นตัวอักษรหรือภาพลายเส้น ส่วนบริเวณอื่นที่ไม่มีประจุไฟฟ้าจะไม่มีผงหมึกเกาะ ทำให้เห็นเป็นภาพของเอกสารต้นฉบับบนแผ่นฟิล์มเมื่อแผ่นกระดาษที่้ต้องการถ่ายสำเนาถูกเลื่อนและหมุนไปพร้อมกับดรัม ผงหมึกบนแผ่นฟิล์มจะถูกถ่ายโอนลงบนกระดาษจะได้ภาพสำเนาปรากฎบนแผ่นกระดา่ษ นำกระดาษนี้ไปผ่านส่วนทำึความร้อนเพื่อให้ผงหมึกติดแผ่น ก็จะได้ภาพสำเนาบนแผ่นกระดาษที่ชัดเจนและถาวร
ที่มาของรูป :
http://www.psncenter.com/shop/p/psncenter/img-lib/spd_20071002120536_b.jpg
2. เครื่องพ่นสี
เครื่องพ่นสี เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับพ่นผงหรือละอองสี เพื่อให้สีเกาะติดชิ้นงานได้ดีกว่าการพ่นแบบธรรมดามีลักษณะดังรูป
ที่มาของรูป :
http://www.thaigoodview.com/files/u41071/electric3_0.jpg
ใช้หลักการทำผงหรือละอองสีกลายเป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ขณะผงถูกพ่นออกมาจากเครื่องพ่น มีผลให้ผงหรือละอองสีที่มีประจไฟฟ้านั้นมีแรงดึงดูดกับผิวชิ้นงานและจะเกาะติดชิ้นงานนั้นได้ดี นอกจากนี้กรณีชิ้นงานที่เป็นโลหะหากมีการต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์สูงๆ จะทำให้ชิ้นงานที่เป็นโลหะมีประจุตรงกันข้ามกับผงหรือละอองสียึดเคลือบกับผิวชิ้นงานดียิ่งขึ้น อีกทั้งทำให้ประหยัดผงสีด้วย เพราะละอองสีไม่ฟุ้งกระจายมาก
3. ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ
ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ ประกอบด้วยแผ่นโลหะ 2 แผ่นที่ขนานกัน แ้่ผ่นหนึ่งทำหน้าที่เป็นไดอะแฟรมรับคลื่นเสียง ส่วนแผ่นที่สองยึดติดกับฐานโดยที่แผ่นรับคลื่นเสียงจะบางมาก เมื่อมีคลื่นเสียงมากระทบจะสั่นตามความถี่ และกำลังของคลื่นเสียง ซึ่งเป็นผลมาจากการสั่นของแผ่นบางนี้จะทำให้ความจุเปลี่ยนแปลง เมื่อต่อไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุนี้ต่ออนุกรมกับตัวต้านทานดังรูป ความต่างศักย์คร่อมไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุจะเปลี่ยนแปลงตามความถี่ของคลื่นเสียงเป็นผลให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า
ที่มาของรูป :
http://www.vcharkarn.com/userfiles/213156/1%20(55)(2).jpg
ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุที่วิทยุเทปกระเป๋าหิ้ว
ที่มาของรูป :
http://www.vcharkarn.com/userfiles/213156/1%20(56)(3).jpg
จากหลักการที่กล่าวมาแล้ว เราสามารถนำไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุนี้ไปใช้งานด้านเสียงไม่ว่าจะเป็นเสียงดนตรี เสียงร้องเพลง เสียงพูด เป็นต้น โดยให้เสียงที่ชัดเจน จึงนิยมใ้ช้ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุกันทั่วไป ไมโครโฟนประเภทนี้มี 2 แบบ คือ แบบใช้งานในสถานีวิทยุโทรทัศน์จะมีราคาแพงมาก กับแบบที่ใช้งานในวิทยุเทปกระเป๋าหิ้วซึ่งมีราคาถูกมาก หลักการทำงานจะเป็นเช่นเดียวกัน แต่จะแตกต่างกันในรายละเอียดของการสร้าง
ที่มาของรูป :
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?action=dlattach;topic=663.0;attach=4241;image
ที่มาของรูป :
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?action=dlattach;topic=663.0;attach=4242;image
ขอบคุณข้อมูลจาก
หนังสือเรียนฟิสิกส์ รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์เพิ่มเติม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/5/Zerox/Zerox4.htm
http://www.psncenter.com/product-th-201167-1252118-SHARP+COPIER+AR+5631.html
http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1203
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?topic=663.0
หลังจากที่ได้ศึกษาใบความรู้แล้ว เราลองมาตอบคำถามกันดูนะครับ
Share this:
Twitter3Facebook6Google
ใส่ความเห็น
อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *
ชื่อ *
อีเมล์ *
เว็บไซท์
ความเห็น
Notify me of new comments via email.
Notify me of new posts via email.
tarn zaaaa บน กุมภาพันธ์ 21, 2014 ที่ 8:54 pm
งานผมคืบหน้าเพราะสิ่งนี้
ตอบกลับ
View Full Site
บลอกที่ WordPress.com .
Now Available! Download WordPress for Android
|
|
IP : 49.230.112.116
โพสเมื่อวันที่ : 19 ส.ค. 2558,15:03 น.
|
ความเห็นที่ 1 |
|
IP : 49.230.64.6
โพสเมื่อวันที่ : 15 ส.ค. 2558,19:17 น.
|
แสดงความเห็น
|